ชุดโครงการ
การพัฒนาการผลิต การตลาด และมาตรฐานดาวอินคา

 
 
 
 
 
 

โครงการที่ 1: โครงการศึกษาการต่อต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณโพลีฟีนอลและคาเตชินของชาจากใบดาวอินคา
โครงการที่ 2: โครงการศึกษาพัฒนาการผลิตน้ำมันจากถั่วดาวอินคา
โครงการที่ 3: โครงการจัดทำร่างมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีในดาวอินคาเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงและพัฒนาระบบ
สืบค้นย้อนกลับ (Traceability) ของดาวอินคา
โครงการที่ 4: โครงการพัฒนาปุ๋ยอินทรีย์ที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของดาวอินคา
โครงการที่ 5: โครงการศึกษาโภชนาการและปริมาณคลอโรฟิลล์ของใบดาวอินคา

ความเป็นมาของโครงการ:
ปัจจุบันมนุษย์ให้ความสนใจและเอาใจใส่เกี่ยวกับสุขภาพมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากการรับประทานอาหารของมนุษย์ในปัจจุบัน พบว่ามีความเสี่ยง
ต่อโรคต่างๆมากมาย โดยพืช ผัก และผลไม้ มีวิตามินและเกลือแร่ที่มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant) ซึ่งอนุมูลอิสระเป็นสารที่
เกิดจากกระบวนการเผาผลาญอาหารในร่างกาย รวมถึงจากมลพิษต่างๆ เช่น โอโซน โลหะหนัก ควันบุหรี่ อนุมูลอิสระเหล่านี้จะทำลายโครง
สร้างและหน้าที่ของผนังเซลล์ ก่อให้เกิดความผิดปกติต่างๆ เช่น โรคชรา (แก่ก่อนวัย) โรคหลอดเลือดและหัวใจขาดเลือด ผนังหลอดเลือดแข็งตัว
(atherosclerosis) โรคเสื่อมของระบบต่างๆในร่างกาย รวมถึงการกลายพันธุ์ (mutataion) ของเซลล์ ซึ่งอาจพัฒนาไปเป็นเซลล์มะเร็งได้
ชาเป็นเครื่องดื่มที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน เนื่องจากมีรายงานทางการแพทย์ว่าชาประกอบด้วยสาร polyphenol ซึ่งเป็นสาร antioxidant
ช่วยกำจัด reactive oxygen species เมื่อรวมกับอนุมูลอิสระ จะป้องกันปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องกับ peroxidation ลดการทำลายเนื้อเยื่อไขมัน
โปรตีนและกรดนิวคลีอิก ในระบบเซลล์อิสระ ทั้งนี้คุณสมบีติดังกล่าว เป็นคุณสมบัติของชาอู่หลง โดยชาจากใบดาวอินคายังไม่เคยมีการศึกษา
คุณสมบัติดังกล่าว
มหาวิทยาลัยนเรศวร จึงร่วมกับภาคีเครือข่าย ภาคเกษตรกร ภาครัฐ และภาคเอกชน ในการพัฒนาชุดโครงการพัฒนาการผลิต การตลาด และ
มาตรฐานดาวอินคา ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้

วัตถุประสงค์:
(1) เพื่อศึกษาปริมาณและความสามารถในการต่อต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณโพลีฟีนอลและคาเตชินของชาจากใบดาวอินคาในระยะใบเพสลาด
(2) เพื่อศึกษาคุณสมบัติของน้ำมันถั่วดาวอินคาที่ผลิตใน 3 ฤดู
(3) เพื่อจัดทำร่างมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีในดาวอินคา (GAP) ที่สอดคล้องกับมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
(4) เพื่อเสนอต่อสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) เพื่อขับเคลื่อนสู่การพัฒนามาตรฐานการรับรองให้แก่เกษตรกร
ผู้ปลูกดาวอินคาในประเทศ
(5) เพื่อส่งเสริมการลดต้นทุนการผลิตและการปฏิบัติที่ดีในดาวอินคา ให้ได้ผลผลิตที่มีความปลอดภัยทางอาหารและมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ
ในอนาคต
(6) เพื่อประยุกต์ใช้แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในแปลงปลูกดาวอินคา
(7) เพื่อพัฒนาระบบ QR Code ให้กับผลิตภัณฑ์ดาวอินคา
(8) เพื่อเชื่อมโยงระบบการผลิตในต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ ของดาวอินคาสู่ความเชื่อมมั่นของผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ
(9) เพื่อพัฒนาปุ๋ยอินทรีย์ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับดาวอินคา
(10) เพื่อศึกษาปริมาณสารอาหารตามโภชนาการ ในชาจากใบดาวอินคาที่แปรรูปในระยะเพสลาด
(11) เพื่อศึกษาปริมาณคลอโรฟิลล์ในใบดาวอินคาในระยะใบอ่อน ใบเพสลาด และใบแก่

คณะทำงาน:
รองศาสตราจารย์ ดร.เดช วัฒนชัยยิ่งเจริญ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เหรียญทอง สิงห์จานุสงค์
นางสาวกมลภรณ์ บุญถาวร
นางสาวปิยะมาศ ภัทรินทร์
นางสาวสุกัญญา อ่อนเขตร์
นายโชคชัย แซ่มี

นางสิริพรรณ ภู่ยางโทน
นายรณกร มงคลวุฒิชาติ
นายสมิทธิ์ บรรณคร
นางสาวยุพา พงษ์ภมร

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสนับสนุน:
หน่วยวิจัยและพัฒนาบูรณาการเกษตรและสิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร
สถานวิเคราะห์และรับรองด้านมาตรฐานและระบบการผลิตทางด้านการเกษตรและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน มหาวิทยาลัยนเรศวร
เครือข่ายการวิจัยภาคเหนือตอนล่าง สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
วิสาหกิจชุมชนไทยอินคาท่าตาล จังหวัดพิษณุโลก

กฤตชาอินคา จังหวัดพิจิตร
สวนบ้านหมอ จังหวัดสุพรรณบุรี
Livingearth Asia จังหวัดเลย
สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก

ผลิตภัณฑ์จากดาวอินคา :

 

ไฟล์นำเสนอ Powerpoint ในการประชุมการจัดทำร่างมาตรฐานดาวอินคา
1. การกำจัดโรค แมลง โดยชีวิธี (รศ.ดร.วันดี วัฒนชัยยิ่งเจริญ)
2. ร่างมาตรฐานถั่วดาวอินคา (รศ.ดร.เดช วัฒนชัยยิ่งเจริญ)
3. ร่างมาตรฐานใบถั่วดาวอินคา (รศ.ดร.เดช วัฒนชัยยิ่งเจริญ)
4. GAP ถั่วดาวอินคา (นายบุญเลิศ สอาดสิทธิศักดิ์)

งานวิจัยเกี่ยวกับน้ำมันจากถั่วดาวอินคา
(1) คู่มือองค์ความรู้และเทคโนโลยีการปลูกและการผลิตชาถั่วดาวอินคา, วช. 2559 (เดช วัฒนชัยยิ่งเจริญ) และหนังสืออนุมัติเผยแพร่
(2) รายงานฉบับสมบูรณ์ ชุดโครงการการพัฒนาการผลิต การตลาด และมาตรฐานดาวอินคา จำนวน 5 เรื่อง, สกอ. 2560

เรื่องราวน่ารู้เกี่ยวกับดาวอินคา
ขอเชิญเข้าร่วมการประชุมเพื่อจัดทำร่างมาตรฐาน
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีในดาวอินคา
ภายใต้โครงการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนฐานราก ประจำปี 2560

รายชื่อผู้สมัครเข้าร่วมการประชุม

(1) คุณถวัลย์รัตน์ ศรีบุญเรือง บริษัท เอเชีย สตาร์ โอเมก้า
(ประเทศไทย) จำกัด จังหวัดขอนแก่น
(2) คุณปวันรัตน์ ธิติภิรมย์รัฐ จังหวัดชัยนาท
(3) คุณรัตนา พัฒนานุพงษ์ จังหวัดชัยนาท
(4) คุณพีรพงศ์ ยาทา จังหวัดพิษณุโลก
(5) คุณรัตนากร แก้วสายัณห์ จังหวัดพิษณุโลก
(6) คุณธีรศักดิ์ มะลิวรรณ จังหวัดพิษณุโลก
(7) คุณธีร์วรา ภักดีวัน บริษัท T.MEGA SACHA INCHI
PRODUCTS จำกัด จังหวัดเพชรบูรณ์
(8) คุณณัฐพัชร์ โสภาพันธุ์ บริษัท T.MEGA SACHA INCHI
PRODUCTS จำกัด จังหวัดเพชรบูรณ์
(9) คุณพัชญ์สิตา ทองสุข จังหวัดตาก
(10) คุณชินภัทร ภู่แก้ว จังหวัดพิจิตร
(11) คุณราวินซ์ รพินันตปรีชาญาน The Sun Farm จ.กรุงเทพ
(12) คุณสุกัญญา อ่อนเขตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
(13) คุณกลิ่นฝน วรรณศิริ มหาวิทยาลัยนเรศวร
(14) คุณวริศรา หาญน้อย มหาวิทยาลัยนเรศวร

(15) คุณสมัชญ์ นิสยันต์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
(16) คุณพีรพงศ์ ยาทา จังหวัดพิษณุโลก
(17)
คุณปิยะมาศ ภัทรินทร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
(18) คุณวิชัย ชวนรักษาสัตย์ รองผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนพิจิตร
เขตทับคล้อ

(19) คุณบรรทม อมรพิพัฒน์ ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานพิจิตร
(20) คุณไพรัตน์ ใจรักษ์ จังหวัดพิษณุโลก
(21) คุณวิเชียร รอศรี จังหวัดพิษณุโลก

(22) คุณฉวี อาจบัว จังหวัดพิษณุโลก
(23)
คุณโชคชัย แซ่มี มหาวิทยาลัยนเรศวร
(24) คุณพรนรินทร์ เทพาวราพฤกษ์ ผู้อำนวยการสถานสัตว์ทดลองเพื่อการวิจัย
มหาวิทยาลัยนเรศวร

(25) คุณกมลภรณ์ บุญถาวรณ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
(26) คุณนันทนา สมัครการ จังหวัดสุพรรณบุรี
(27)
คุณไล้ อุนานันท์ จังหวัดพิจิตร
(28) คุณอุสาห์ อุนานันท์ จังหวัดพิจิตร
(29) คุณบุญเรือง อุนานันท์ จังหวัดพิจิตร
(30) คุณนิภา คุ้มอารี จังหวัดพิจิตร
(31) คุณปัญญา อุนานันท์ จังหวัดพิจิตร
(32) คุณจิราภร จุลพันธุ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
(33) คุณอมรรัตน์ อุประปุ้ย นักวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
(34) คุณฤกษ์ชัย สว่างสินธุ์ จังหวัดเพชรบูรณ์
(35) คุณธนาวดี แก้วมุสิสาร จังหวัดตาก

  • คณะวิทยากร
  • รศ.ดร.เดช วัฒนชัยยิ่งเจริญ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • รศ.ดร. วันดี วัฒนชัยยิ่งเจริญ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • นายบุญเลิศ สอาดสิทธิศักดิ์ สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขต 2
  • นายสมิทธิ์ บรรณคร กลุ่มสวนบ้านหมอ จังหวัดสุพรรณบุรี
  • นายรณกร มงคลวุฒิชาติ กลุ่มกฤตชาอินคา จังหวัดพิจิตร
  • นางสิริพรรณ ภู่ยางโทน วิสาหกิจชุมชนไทยอินคาท่าตาล จังหวัดพิษณุโลก

เครือข่ายวิชาการ

  • มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • เครือข่ายการวิจัยภาคเหนือตอนล่าง
  • หน่วยวิจัยและพัฒนาบูรณาการเกษตรและสิ่งแวดล้อม
  • สถานวิเคราะห์และรับรองด้านมาตรฐานและระบบการ
    ผลิตทางด้านการเกษตรและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
  • สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 พิษณุโลก

เครือข่ายเกษตรกรและผู้ประกอบการ (ต้นน้ำ-ปลายน้ำ) ที่เข้าร่วมโครงการ

วิสาหกิจชุมชนไทยอินคา
ท่าตาล จ.พิษณุโลก
กฤตชาอินคา
จ.พิจิตร
ไร่เจริญทรัพย์
จ.สุโขทัย
Livingearth
จ.เลย
สวนบ้านหมอ
จ.สุพรรณบุรี


Product/สินค้า QR Code Description/รายละเอียด

ชาสมุนไพร
ผู้ผลิตและจำหน่าย: สวนบ้านหมอ

สบู่ถ่านดาวอินคา
ผู้ผลิตและจำหน่าย: สวนบ้านหมอ
สบู่ถั่วดาวอินคา
ผู้ผลิตและจำหน่าย: สวนบ้านหมอ
น้ำมันถั่วดาวอินคาแบบซอฟเจล
ผู้ผลิตและจำหน่าย: สวนบ้านหมอ
น้ำมันถั่วดาวอินคาสกัดเย็น ขนาด 250 มล.
ผู้ผลิตและจำหน่าย: สวนบ้านหมอ
น้ำมันถั่วดาวอินคาสกัดเย็น ขนาด 500 มล.
ผู้ผลิตและจำหน่าย: สวนบ้านหมอ

กาแฟผสมถั่วดาวอินคาสูตร 1
ผู้ผลิตและจำหน่าย: สวนบ้านหมอ

กาแฟผสมถั่วดาวอินคาสูตร 2
ผู้ผลิตและจำหน่าย: สวนบ้านหมอ

ถั่วอบกรอบอินคา
ผู้ผลิตและจำหน่าย: สวนบ้านหมอ

ชาดาวอินคา
ผู้ผลิตและจำหน่าย: วิสาหกิจชุมชนไทยอินคาท่าตาล

ชาเปลือกถั่วดาวอินคา
ผู้ผลิตและจำหน่าย: วิสาหกิจชุมชนไทยอินคาท่าตาล

น้ำมันถั่วดาวอินคาสกัดเย็น
ผู้ผลิตและจำหน่าย: วิสาหกิจชุมชนไทยอินคาท่าตาล

สบู่เหลวดาวอินคา
ผู้ผลิตและจำหน่าย: วิสาหกิจชุมชนไทยอินคาท่าตาล
แชมพูดาวอินคา
ผู้ผลิตและจำหน่าย: วิสาหกิจชุมชนไทยอินคาท่าตาล
คุ๊กกี้ถั่วดาวอินคา
ผู้ผลิตและจำหน่าย: วิสาหกิจชุมชนไทยอินคาท่าตาล
ถั่วดาวอินคาอบสูตร 1
ผู้ผลิตและจำหน่าย: วิสาหกิจชุมชนไทยอินคาท่าตาล
ถั่วดาวอินคาอบสูตร 2
ผู้ผลิตและจำหน่าย: วิสาหกิจชุมชนไทยอินคาท่าตาล
สบู่ดาวอินคา
ผู้ผลิตและจำหน่าย: วิสาหกิจชุมชนไทยอินคาท่าตาล
ยาหม่องดาวอินคา
ผู้ผลิตและจำหน่าย: วิสาหกิจชุมชนไทยอินคาท่าตาล
น้ำมันถั่วดาวอินคาแบบซอฟเจล
ผู้ผลิตและจำหน่าย: วิสาหกิจชุมชนไทยอินคาท่าตาล
ชาดาวอินคาแบบถุงฟอยซิป บรรจุ 15 ซอง
ราคา 100 บาท

ผู้ผลิตและจำหน่าย: กฤตชาอินคา
ชาดาวอินคากล่อง บรรจุ 30 ซอง
ราคา 250 บาท

ผู้ผลิตและจำหน่าย: กฤตชาอินคา
ถั่วดาวอินคาคั่วแบบซองฟอย
นน. สุทธิ 140 กรัม ราคา 100 บาท

ผู้ผลิตและจำหน่าย: กฤตชาอินคา
คุกกี้คอนเฟลคดาวอินคา
นน.สุทธิ 85 กรัม ราคา 35 บาท

ผู้ผลิตและจำหน่าย: กฤตชาอินคา
คุกกี้ช๊อคโกแลตดาวอินคา
นน.สุทธิ 85 กรัม ราคา 35 บาท

ผู้ผลิตและจำหน่าย: กฤตชาอินคา
คุกกี้เนยสดดาวอินคา
นน.สุทธิ 85 กรัม ราคา 35 บาท

ผู้ผลิตและจำหน่าย: กฤตชาอินคา

 

   


ตัวอย่างของ Application ใน iPhone และ Google Play สำหรับสแกน QR Code;
QR Reader
QR Code Scanner
QR Code Reader by Scan

Copyright 2009-2016, AEI R&D Unit, All rights reserved.
Tel/Fax: 055-962822 c/o AG2101
Webmaster AEI: piyamatt@nu.ac.th, piyamat_thamee@hotmail.com